English (United Kingdom)Thai (ภาษาไทย)

Body Focus

ภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก (ประจำเดือนตุลาคม 2557)

ภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก ยังเป็นปัญหาที่พบบ่อยในบ้านเรา และพบได้ทุกเพศทุกวัย อ่านต่อ>>

 

 

 

มารู้จัก 'ฮีโบลา' กัน (ประจำเดือนกันยายน 2557)

ไวรัสอีโบลาเป็นไวรัสไข้เลือดออกชนิดหนึ่ง ที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วยที่รุนแรงในคนสามารถแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว มีอัตราการตายสุงถึงร้อยละ 50-90 อ่านต่อ >>

 

 

รู้เท่าทันโรคฉี่หนู (ประจำเดือนสิงหาคม 2557)

โรคฉี่หนูเป็นโรคที่ติดต่อจากสัตว์สู่คน ที่พบว่าแพร่กระจายอยู่ทั่วโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งเขตร้อน อ่านต่อ>>

 

 

 

 

เป้าหมายการควบคุมรักษาภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (ประจำเดือนกรกฎาคม 2557)

ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจประกอบด้วยปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมได้ ได้แก่ อ่านต่อ>>

 

 

 

มะเร็งเต้านม:กรรมพันธุ์หรือไม่กรรมพันธุ์ (ประจำเดือนมิถุนายน 2557)

มะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในสตรีทั่วโลกคือ มะเร็งเต้านม ประเทศไทนก็เช่นกัน ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในไทยและต่างประเทศ อ่านต่อ>>

 

 

 

ความดันโลหิตสูง โรคที่เราสามารถควบคุมและป้องกันได้ (ประจำเดือนพฤษภาคม 2557)

เนื่องจากวันที่ 17 พฤษภาคมของทุกปีเป็นวันความดันโลหิตสูงโลก ฉบับนี้จึงขอนำเรื่องราวเกี่ยวกับความดันโลหิตสูงมาเล่าสู่กันฟัง อ่านต่อ>>

 

 

 

 

ตรวจสุขภาพประจำปีดียังไง (ประจำเดือนเมษายน 2557)

ถ้าวิเคราะห์ให้ดี อันที่จริงหากผู้ที่ตรวจแล้วไม่ได้ใส่ใจปฎิบัติในเรื่องข้อแนะนำที่ได้จากผลการตรวจสุขภาพประจำปีของตนเอง อ่านต่อ >>

 

 

 

ก๊าซน้ำตา : อาวุธเคมี ตอนที่ 2 (ประจำเดือนมีนาคม 2557)

เมื่อร่างกายสัมผัสกับก๊าซน้ำตา อ่านต่อ >>

 

 

 

ก๊าซน้ำตา : อาวุธเคมี ตอนที่ 1 (ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557)

ก๊าซน้ำตาที่เอามาใช้มี 3 ชนิดคือ แบบขว้าง ลักษณะคล้ายกระป๋องทำให้เกิดควันฟุ้งกระจาย อ่านต่อ >>

 

 

 

โรคหลอดเลือดในสมอง อัมพฤกษ์-อัมพาต (Stork) ตอนที่ 4 (ประจำเดือนมกราคม 2557)

ฉบับนี้ขอนำเสนอการติดตามผลการดูแลตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับท่านที่มีโรคประจำตัวที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดในสมอง อ่านต่อ >>

 

 

 

 

โรคหลอดเลือดในสมอง อัมพฤกษ์-อัมพาต (Stroke) ตอนที่ 2 (ประจำเดือนพฤศจิกายน 2556)

วัยเกษียณเป็นวัยที่ต้องมีการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีความสุข อ่านต่อ>>

 

 

 

 

โรคหลอดเลือดในสมอง ตอนที่ 1 (ประจำเดือนตุลาคม 2556)

เนื่องจากว่าเป็นโรคที่พบบ่อย และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของไทย และจัดเป็นโรคที่เป็นสาเหตุให้เสียชีวิตที่สำคัญอันดับ 1 อ่านต่อ>>

 

 

 

 

จริงหรือที่ความแก่สามารถชะลอได้ ตอนที่ 12 (ประจำเดือนกันยายน 2556)

ฉบับนี้เราคุยเรื่องฮอร์โมนกันต่อนะคะ Growth hormone สร้างจากต่อมใต้สมองช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโตในวัยเด็กและช่วยบำรุงรักษาเนื้อ เยื่อ อ่านต่อ>>

 

 

จริงหรือที่ความแก่สามารถชะลอได้ ตอนที่ 11 (ประจำเดือนสิงหาคม 2556)

เมื่ออายุมากขึ้น จะพบการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับทั้งโครงสร้างและการทำงานชองต่อมไทรอยด์ เนื้อเยี่อบางส่วนของต่อมไทรอยด์จะลีบและมีผังผืด อ่านต่อ>>

 

 

 

จริงหรือที่ความแก่สามารถชะลอได้ ตอนที่ 10 (ประจำเดือนกรกฎาคม 2556)

วันนี้จะขอกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงกับร่างกายในระดับฮอร์โมนในร่างกายมีผลต่อความแก่ในระดับที่ใหญ่ขึ้น อ่านต่อ >>

 

 

 

 

จริงหรือที่ความแก่สามารถชะลอได้ ตอนที่ 9 (ประจำเดือนมิถุนายน 2556) 

ฉบับนี้ขอนำเสนอสารอาหารอีกตัวหนึ่งที่ใช้กันในวงการชะลอวัยคือ l-carnitineนี้ อ่านต่อ >>

 

 

 

 

จริงหรือที่ความแก่สามารถชะลอได้ ตอนที่ 7 (ประจำเดือนเมษายน 2556)

หลักการในการชะลอวัยไม่ไห้แก่เร็วจนเกินไป  คงจะง่ายเกินไปหากจะบอกว่าการทาครีมที่มี Growth hormone ช่วยให้ใบหน้าดูอ่อนวัย แก่ช้าอย่างที่เราๆท่านๆ เห็นตามสื่อโฆษณา อ่านต่อ>>

 

 

 

 

จริงหรือที่ความแก่สามารถชะลอได้ ตอนที่ 6 (ประจำเดือนมีนาคม 2556) 

ดังที่กล่าวไว้ในฉบับก่อนๆ ว่าเวชศาสตร์ชะลอวัย และการฟื้นฟูภาวะเสื่อมจากวัย เกิดขึ้นเพื่อมุ่งหวังให้มีการพัฒนาคุณภาพฃีวิตและการมีอายุที่ยืนยาว อ่านต่อ>>

 

 

 

 

จริงหรือที่ความแก่สามารถชะลอได้ ตอนที่ 5 (ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2556)

Body Focus ฉบับนี้ดิฉันยังขออนุญาตสื่อสารต่อเนื่องในเรื่องของวัยชราที่เป็นเรื่องที่ทุกคนมุ่งหวังที่จะชะลอ อ่านต่อ >>

 

 

 

จริงหรือที่ความแก่สามารถชะลอได้ ตอนที่ 5 (ประจำเดือนมกราคม 2556)

ปัจจุบันอายุขัยเฉลี่ยของคนทางซีกโลกตะวันตกอยู่ที่ประมาณ 80 ปี ก็จริง แต่คนจำนวนมากอายุถึงเพียงแค่ 50 ปีเท่านั้นที่ยังคงมีสุขภาพแข็งแรงดี หลังจากนั้นไปจนถึงอายุขัยมักมีโรคเรื้อรังมา อ่านต่อ >>

 

 

 

จริงหรือที่ความแกสามารถชะลอได้ ตอนที่ 4 (ประจำเดือนธันวาคม 2555)

อนุมูลอิสระ คือ โมเลกุลที่มีความไวในการเกิดปฏิกิริยา หรืออะตอมที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยวไม่มีคู่ ทำให้ขาดความเสถียร กล่าวคือ มีความพร้อมที่จะหาประจุไฟฟ้ามาเป็นคู่ อ่านต่อ>>

 

 

 

จริงหรือที่ความแก่สามารถชะลอได้ ตอนที่ 2 (ประจำเดือนพฤศจิกายน 2555)

นาฬิกาอายุโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกี่ยวกับความแก่แตกต่างจากนาฬิกาทั่วๆไป ตรงที่ตัวให้จังหวะการเดินของนาฬิกามีความหลากหลายในแต่ละบุคคล สายพันธุ์ อ่านต่อ>>

 

 

 

จริงหรือที่ความแก่สามารถชะลอได้ ตอนที่ 1 (ประจำเดือนตุลาคม 2555)

ตามคำนิยามขององค์การอนามัยโลกถือว่า ผู้สูงอายุ คือ ผู้ที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 60 ปี ความชราเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับกลไกหลายส่วน อ่านต่อ>>

 

 

 

โรคเบาหวาน ตอนที่ 2 การตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยง (ประจำเดือนกันยายน 2555)

คนจำนวนไม่น้อยที่เป็นโรคเบาหวานโดยไม่รู้ตัวเพราะไม่มีอาการ การตรวจคัดกรองจึงมีประโยชน์อย่างมากในการค้นหากลุ่มคนเหล่านี้ อ่านต่อ>>

 

 

 

โรคเบาหวาน ตอนที่ 1 สาเหตุเกิดจากอะไร (ประจำเดือนสิงหาคม 2555)

โรคเบาหวานเป็นโรคที่พบบ่อยทั้งๆ ที่มนุษย์รู้จักโรคนี้มาเป็นเวลา 1500 ปีก่อนคริสตกาล อ่านต่อ>>

 

 

 

ความดันโลหิตสูง มัจจุราชเงียบโลหิตสมองตีบ ตอนที่ 3 (ประจำเดือนกรกฏาคม 2555)

ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้ควลคุมความดันให้ดี คือ ปล่อยให้ความดันสูงมากๆ อยู่เป็นเวลานาน จะเกิดการทำลายอวัยวะเป้าหมาย ที่สำคัญ อาทิ อ่านต่อ >> 

 

 

 

 

ความดันโลหิตสูง มัจจุราชเงียบโลหิตสมองตีบ (ประจำเดือนมิถุนายน 2555)

ปัจจุบันคิดว่าหลายๆท่านคงมีเครื่องวัดความดันโลหิตไว้ใช้งานเองที่บ้านซึ่งมักจะเห็นว่าเป็นเครื่องอัตโนมัติ อ่านต่อ >>

 

 

 

ความดันโลหิตสูง มัจจุราชเงียบโลหิตสมองตีบ (ประจำเดือนพฤษภาคม 2555)

โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่พบบ่อย และมักเกิดปัญหาแทรกซ้อนมากในช่วงหน้าร้อน เริ่มจากความรู้พื้นฐาน อ่านต่อ>>

 

 

 

มะเร็งลำไส้และการตรวจกรอง ตอนที่ 2 (ประจำเดือนเมษายน 2555)

มะเร็งลำไส้เป็นโรคที่รักษาได้หากทราบว่าเป็นตั้งแต่เนิ่นๆ สำหรับผู้ที่อายุ 50 ปี หรือผู้ที่มีความเสี่ยง เช่น ลำไส้อักเสบ อ่านต่อ>> 

 

 

 

มะเร็งลำไส้และการตรวจกรอง  ตอนที่ 1 (ประจำเดือนมีนาคม 2555)

จากสถิติพบว่าในเพศชายโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ พบอัตราการเกิดเป็นอันดับ 3 รองจากมะเร็งตับและมะเร็งปอด อ่านต่อ >>

 


 

การหลุดลอกของจอประสาทตา retinal detachment (ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2555)

กายวิภาคของลูกตา มองจากภายนอกจะเห็นตาขาว ม่านตาและ รูม่านตา ส่วนที่เราเรียกว่า ตาดำ คือ อ่านต่อ>>

 

 

 

โรคหัวใจและหลอดเลือดการตรวจเพื่อประเมินความเสี่ยง 10 ปีในอนาคต (ประจำเดือนมกราคม 2555)

ระบบไหลเวียนเลือดมีหัวใจซึ่งเปรียบเหมือนเครื่องจักรคอยปั้มเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย โดยมีหลอดเลือดเป็นท่อลำเลียงเลือดนำออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ อ่านต่อ >> 

 

 

 

  

ต่อมไร้ท่อตอนที่ 2 (ประจำเดือนธันวาคม 2554) 

สวัสดีค่ะ พบกันอีกแล้วนะคะหลังจากที่ท่านผู้อ่านได้เปลี่ยนบรรยากาศอ่านบทความดีๆ เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า ฉบับนี้จะขอเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ อ่านต่อ >>

 

 

 

โรคพิษสุนัขบ้า...อย่าประมาท (ประจำเดือนกันยายน 2554)

เพื่อให้เข้ากับสถานการณ์ที่จะมาถึงในวันที่ 28 กันยายน ของทุกปี ซึ่งกำหนดให้เป็นวันพิษสุนัขบ้าโลก ดังนั้นคอลัมน์ Body Focus ฉบับนี้ จะมาพูดถึงโรคพิษสุนัขบ้า หรือโรคกลัวน้ำ อ่านต่อ >> 

 

 

 

 รู้จัก ‘ต่อมไร้ท่อ’ แหล่งสร้างฮอร์โมนเพื่อจุดสมดุลของชีวิต (ประจำเดือนสิงหาคม 2554)

 

Body Focus ฉบับนี้เป็นเรื่องของต่อมไร้ท่อ คำว่า “ต่อมไร้ท่อ” ซึ่งค่อยข้างจะชัดเจนนะคะว่าเป็นต่อมที่หลังฮอร์โมนออกมา โดยไม่ต้องผ่านระบบท่อลำเลียงไปสู่อวัยวะเป้าหมาย นั่นหมายความว่าฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจะเข้าสู่กระแสเลือดได้โดยตรงเพื่อไปยังอวัยวะเป้าหมาย  อ่านต่อ >> 

 

 

 

 

 

เล็บ : อวัยวะที่เมื่อเป็นแล้วรักษายาก (ประจำเดือนกรกฏาคม 2554)

เล็บ อวัยวะที่สำคัญที่ช่วยให้มนุษย์หยิบจับสิ่งของได้สะดวก ฃ่วยให้ปลายนิ้วรู้สึกสัมผัสได้ชัดเจนยิ่งขึ้น สำหรับวัยรุ่นปัจจุบันคงยอมรับว่าเล็บเป็นส่วนเสริมสร้างบุคลิกภาพ และสร้างรายได้ให้กับคนบางกลุ่มอย่างสบายๆ อ่านต่อ>> 

 

 

 มะเร็งเต้านม ตอนที่ 4 (ประจำเดือนมิถุนายน 2554)

 สวัสดีค่ะท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน Body Focus ฉบับนี้มาติดตามการรักษามะเร็งเต้านมกันค่ะ วิธีการรักษามะเร็งเต้านมมีหลายวิธี การจะเลือกรักษาด้วยวิธีใดขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ กล่าวคือ อ่านต่อ>> 

 

 

 

 มะเร็งเต้านม ตอนที่ 3 (ประจำเดือนพฤษภาคม 2554)

ฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ฉบับนี้ขอเล่าถึงวิธีการตรวจที่มีความแม่นยำและความไวมากขึ้นค่ะ อ่านต่อ >> 

 

 

 

โรคมะเร็งเต้านม ตอนที่ 2 (ประจำเดือนเมษายน 2554)

อาการของมะเร็งเต้านมอาจมาด้วยการมีก้อนเล็กๆ เกิดขึ้นบริเวณเต้านม ส่วนมากไม่มีอาการเจ็บปวด ก้อนจะโตขึ้นอย่างรวดเร็วอาจทำให้เต้านมใหญ่ขึ้น บางชนิดทำให้เต้านมแข็งขึ้น หรือแบนเล็กลงได้ อ่านต่อ>>

 

 

 

 

โรคมะเร็งเต้านม ตอนที่ 1 (ประจำเดือนมีนาคม 2554)

มะเร็งเต้านมเกิดจากเซลล์ของเต้านมที่เติบโตอย่างผิดปกติโดยที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมและเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็งในที่สุด ส่วนใหญ่มักเกิดบริเวณท่อน้ำนม อ่านต่อ >>

 

 

 

 

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 2 (ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2554)

การวินิจฉัยโรคกระดูกพรุน นอกจากประวัติ ปัจจัยเสี่ยงต่างๆแล้ว ยังมีการตรวจค้นอื่นๆ ได้แก่ การตรวจวัดความหนาแน่นมวลกระดูก การตรวจวิเคราะห์ดัชนีกระดูก อ่านต่อ>>

 

 

 

โรคกระดูกพรุน ตอนที่ 1 (ประจำเดือนมกราคม 2554)

โรคกระดูกพรุนคือโรคที่มีความหนาแน่นมวลกระดูกลดน้อยลงเรื่อยๆ ความหนาแน่นมวลกระดูกที่ลดลงทำให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของกระดูก ส่งผลให้กระดูกไม่สามารถรับน้ำหนักหรือรับแรงกดดันได้ตามปกติทำให้กระดูกหักง่ายในระยะแรก    อ่านต่อ >>


 

 

มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 2 (ประจำเดือนธันวาคม 2553)

ฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงสาเหตุ และวิธีการดูแลตัวเองเพื่อป้องกันหรือประเมินความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกแล้วนะคะ ฉบับนี้มีเรื่องเล่าสู่กันฟังเกี่ยวกับการวินิจฉัย และวิธิการเตรียมตัวก่อนการตรวจ อ่านต่อ >>

 

 

 

มะเร็งปากมดลูก ตอนที่ 1 (ประจำเดือนพฤศจิกายน 2553)

มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้หญิงไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงอายุ 30-50 ปี และพบมากที่สุดทางภาคเหนือของไทย เมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่นๆ มะเร็งปากมดลูกนั้นสามารถป้องกันได้ หากสามารถตรวจคัดกรองหาความผิดปกติได้ตั้งแต่เนิ่นๆ ก่อนจะแสดงอาการ การรักษาจะได้ อ่านต่อ >>

 

 


ต่อมลูกหมาก  (ประจำเดือนตุลาคม 2553)

ฉบับนี้ขอพูดถึงโรคที่พบบ่อยในผู้ชายสูงอายุ ซึ่งหนีไม่พ้นเรื่องของต่อมลูกหมาก ต่อมลูกหมาก (prostate gland) เป็นอวัยวะหนึ่งของระบบสืบพันธ์เพศชาย ในชายอายุ 25 ปี ต่อมลูกหมากมีขนาดความยาวประมาณ 4 ซม. กว้าง 3 ซม. และหนาประมาณ 2 ซม.น้ำหนักประมาณ 20-25 กรัม เปรียบเทียบง่ายๆขนาดประมาณลูกเกาลัด   อ่านต่อ >>

 

 

โรคเกาต์ ตอนที่ 2 (ประจำเดือนกันยายน 2553)

ฉบับก่อนได้กล่าวถึงอาการ และพยาธิกำเนิดพอสังเขปของโรคเกาต์ ฉบับนี้จะขอเล่าสู่กันฟังเรื่องการปฏิบัติตนเมื่อทราบว่าเป็นโรคเกาต์ เนื่องจากพบว่า 1 ใน 4 ของผู้ป่วยโรคเกาต์อาจพบภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ คือ นิ่วในไต ผลึกรูปเข็มของยูเรทที่สะสมในไตอาจมีส่วนทำร้ายเซลล์เยื่อบุเนื้อไต อันเป็นสาเหตุให้พบเลือดในปัสสาวะได้   อ่านต่อ >>

 

 

โรคเกาต์ ตอนที่ 1 (ประจำเดือนสิงหาคม 2553)

บ่อยครั้งที่พบว่าเมื่อชาวบ้านมีอาการปวดข้อมักจะถามว่าเป็นโรคเกาต์รึเปล่า Body focus ฉบับนี้จึงขอนำเรื่องโรคเกาต์มาเล่าสู่กันฟัง โรคเกาต์มีอาการที่สำคัญ คือ ข้ออักเสบโดยมากมักเกิดที่ บริเวณนิ้วหัวแม่เท้า ข้อเท้า และอาจเป็นที่ข้ออื่นๆ เช่น ข้อศอก ข้อนิ้ว ติ่งหู ตาตุ่ม หรือหลังเท้าเกิดเป็นปุ่มก้อน  อ่านต่อ >>

 

 

 

 

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2553 คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล Download Internet Explorer 8 ด้านบน