English (United Kingdom)Thai (ภาษาไทย)

สุขภาพดีกับเทคนิคการแพทย์

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 53 : ฮอร์โมนชนิดต่างๆ (ประจำเดือนตุลาคม 2557) 

ฮอร์โมนที่มีบทบาทสำคัญในการกระตุ้นการหลังน้ำนมของคุณแม่ อ่านต่อ>> 

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 52 : ฮอร์โมนชนิดต่างๆ (ประจำเดือนกันยายน 2557)  

การตรวจหาความผิดปกติระหว่างการตั้งครรถ์ อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 51 : ฮอร์โมนชนิดต่างๆ (ประจำเดือนสิงหาคม 2557)

ขอแนะนำสำหรับผู้ที่ซื้อที่ตรวจครรถ์ตามร้านขายยาทั่วไปมาใช้ อ่านต่อ>>  

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 50 : ฮอร์โมนชนิดต่างๆ (ประจำเดือนกรกฎาคม 2557)  

ฉบับนี้เราจะมาเรียนรู้การตรวจยืนยันภาวะการตั้งครรถ์ อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 49 : ฮอร์โมนชนิดต่างๆ (ประจำเดือนมิถุนายน 2557)

จากที่เคยกล่าวในฉบับก่อนๆว่าการเจาะตรวจเลือดเพื่อหาความผิดปกติที่เกิดขึ้น และค่าอ้างอิงของฮอร์โมนเหล่านี้ อ่านต่อ >>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 48 : ฮอร์โมนชนิดต่างๆ (ประจำเดือนพฤษภาคม 2557)

ฉบับที่แล้วเราคุยกันไปเกี่ยวกับฮอร์โมน LH และ FSH รวมถึงการเจาะตรวจเลือดและค่าปกติต่างๆทั้งในผู้ชายและผู้หญิง อ่านต่อ>>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 47: ฮอร์โมนชนิดต่างๆ (ประจำเดือนเมษายน 2557)

ฉบับนี้เราจะมาคุยกันในเรื่องที่เกี่ยวกับฮอร์โมนชนิดต่างๆ กัน อีก 8 ชนิด อ่านต่อ >>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 46: ดัชนีบ่งชี้การทำงานของต่มไทรอยด์ (ประจำเดือนมีนาคม 2557)

ฉบับนี้เราจะมาเรียนรู้กันต่อ คือรายการ Total T4 ซึ่งเป็นการตรวจหาปริมาณ T4 ทั้งหมด ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของฮอร์โมนที่จับเป้นสารประกอบ       อ่านต่อ >>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 45: ดัชนีบ่งชี้การทำงานของต่มไทรอยด์ (ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557)

ฉบับนี้เรามาต่อกันในรายการตรวจพิเศษ ในหมวดที่ว่าด้วยฮอร์โมน ฉบับที่แล้วเราคุยเกี่ยวกับต่อมไทรอยด์ฮอร์โมน อ่านต่อ>>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 44: ดัชนีบ่งชี้การทำงานของต่อมไทรอยด์ (ประจำเดือนมกราคม 2557)

TSH ไทรอยด์ฮอร์โมนสร้างมาจากต่อมไทรอยด์ ซึ่งเป็นต่อมไร้ท่อที่อยู่บริเวณคอ ใต้ลูกกระเดือก มีบทบาทสำคัญในการจับไอโอดีน อ่านต่อ>>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 42: ดัชนีบ่งชี้การแข็งตัวของเลือด (ประจำเดือนพฤศจิกายน 2556)

การขาดหรือพร่องของ Clotting factor เหล่านี้มีผลทำให้เลือดออกง่ายและหยุดยาก อีกทั้ง อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 41: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนตุลาคม 2556)

ฉบับนี้เรามาคุยกันในเรื่องที่เกี่ยวกับ ดัชนีบ่งชี้การแข็งตัวของเลือดกัน ทั้งนี้หากพิจารณาจากตัวอย่าง อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 40: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิจวิทยา (ประจำเดือนกันยายน 2556)

การมีแอนติเจน A หรือ B อยู่บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง ก็มหายถึงว่าเราจะมีหมู่เลือด A หรือ B ตามลำดับ อันนี้ก็เช่นเดียวกัน ก่ีที่เราเรียกหมู่เลือด Rh นั้น ก็เป็นการตรวจวิเคราะห์ว่าเรามีแอนติเจนชนิดนี้อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดงหรือไม่ อ่านต่อ>>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 39: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนสิงหาคม 2556)

ฉบับนี้มาดูรายการตรวจวิเคราะห์หมู่เลือดกัน หมู่เลือด ABO แบ่งออกเป็น 4 หมู่ที่สำคัญ คือ A, B, AB และ O การที่เป็นหมู่เลือดใดขึ้นอยู่กับว่า บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดงของแต่ละท่าน อ่านต่อ >>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 38: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนกรกฏาคม 2556)

ฉบับนี้มาดูกันในส่วนของผลตรวจ ESR ซึ่งเป็นอัตราการตกของเซลล์เม็ดเลือดแดงที่แยกชั้นออกมาจากน้ำเหลือง อ่านต่อ >>

 

 

 

 เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 37: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนมิถุนายน 2556)

ทำไมการตรวจเชื้อมาลาเรีย ถึงมาอยู่ในหมวดการตรวจทางโลหิตวิทยาได้ ซึ่งนั่นก็เป็นเพระาว่า อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 35: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนเมษายน 2556)

 รายการต่อไปที่จะพูดถึงตามใบขอส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการสีชมพูและอยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมสีแดงที่เราคุ้นตากันมาทุกเดือน ก็คือรายการ Malaria อ่านต่อ>>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 34: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนมีนาคม 2556)

ฉบับนี้เราจะกลับมาต่อกันในรายการที่เกี่ยวกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์เพื่อช่วยในการจำแนกโลหิตจางธาลัสซีเมีย ซึ่งเป็นโรคโลหิตจางที่เรื้อรังมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 33: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2556)

ฉบับนี้เป็นภาคต่อในส่วนของดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา โดยเฉพาะในรายการที่เกี่ยวกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์เพื่อการบ่งชี้ภาวะโลหิตจาง อ่านต่อ>>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 32: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนมกราคม 2556)

รายการตรวจเหล่านี้สามารถบ่งชี้ความผิดปกติในร่างกาย โดยเฉพาะภาวะโลหิตจางหรือการมีภาวะซีด ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย อ่านต่อ>>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 31: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนธันวาคม 2555)

สวัสดีครับ เหลือเพียง 1 เดือน เราก็จะก้าวสู่เทศกาลปีใหม่กันแล้ว สำหรับเนื้อหาที่เราพูดคุยกันมาในหลายฉบับต่อเนื่อง เรายังอยู่กันที่ รายการตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด อ่านต่อ>>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 30: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนพฤศจิกายน 2555)

รายการทดสอบอีกกลุ่มหนึ่งที่ใช้เพื่อประกอบการตรวจวินิฉัยความผิดปกติของเม็ดเลือดแดง คือ การตรวจดัชนีเซลล์เม็ดเลือดแดง อาทิ ค่าเฉลี่ยเชิงปริมาตรของเซลล์เม็ดเลือดแดงแต่ละเซลล์ อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 27: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนตุลาคม 2555)

ดังที่กล่าวถึงในฉบับที่แล้ว จำนวนเม็ดเลือดแเดงปกติสำหรับผู้ชายและผู้หญิง จะมีค่าประมาณ 4.6-6.0 และ 4.2-5.0 ล้านเซลล์ต่อไมโครลิตร ตามลำดับ อ่านต่อ>> 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 28: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนกันยายน 2555)

ฉบับนี้ยังเป็นตอนต่อเนื่องเกี่ยวกับรายการตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์ (Complete Blood Count; CBC) โดยเราจะมาต่อกันในเรื่องการนับจำนวนเม็ดเลือดแดง อ่านต่อ>>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 27: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนสิงหาคม 2555)

การตรวจวิเคราะห์ปริมาณเม็ดเลือดแดงอัดแน่น จากชื่อก็คงมองออกว่า เป็นการตรวจหาปริมาณเซลล์เม็ดเลือดแดง โดยอาศัยวิธีการปั่นเลือด อ่านต่อ >>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 26: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนกรกฏาคม 2555)

การตรวจวิเคราะห์ปริมาณเม็ดเลือดแดงอัดแน่น จากชื่อก็คงมองออกว่า เป็นการตรวจหาปริมาณเซลล์เม็ดเลือดแดง โดยอาศัยวิธีการปั่นเลือด อ่านต่อ >>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 25: ดัชนีบ่งชี้ทางโลหิตวิทยา (ประจำเดือนมิถุนายน 2555)

ในหมวดโลหิตวิทยานี้ จะมีรายการตรวจมากนับสิบรายการ แต่จะขอเริ่มจากรายการตรวจที่เรียกว่า อ่านต่อ >>

 

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 24: ดัชนีบ่งชี้สมดุลของแร่ธาตุ (ประจำเดือนพฤษภาคม 2555)

รายการตรวจที่ชื่อว่า ลิเธียม (Lithium) การตรวจวิเคราะห์ระดับลิเธียมในเลือดนั้น จะถูกสั่งเจาะจากหลอดเลือดดำ อ่านต่อ>>

 

 

 

เลิอด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 23: ดัชนีบ่งชี้สมดุลของแร่ธาตุ (ประจำเดือนเมษายน 2555)

การตรวจเพื่อวินิจฉัยกล้ามเนื้อหัวใจตาย ซึ่งพบว่า จะมีหน่วยย่อยชนิด LDH1 ขึ้นไป สูงมากเพียงตัวเดียว จนมีอัตราส่วนมากกว่า LDH2 อ่านต่อ>> 

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 22 : ดัชนีบ่งชี้สมดุลของแร่ธาตุ (ประจำเดือนมีนาคม 2555)

กลับมาพบกันอีกครั้งนะครับกับคอลัมน์สุขภาพดีกับเทคนิคการแพทย์มหิดล ในหลายเดือนที่ผ่านมา เราเรียนรู้กันไปเกี่ยวกับดัชนีบ่งชี้สมดุลของแร่ธาตุต่อเนื่องกัน อ่านต่อ >>

 

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 21 : ดัชนีบ่งชี้ความสมดุลของแร่ธาตุ (ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2555)

สวัสดีครับ กลับมาพบกันอีกครั้งในเดือนแห่งความรัก เรายังติดค้างกันอยู่สำหรับรายการอิเลกโตรไลต์ตัวที่เหลือคือ แมกนีเซียม อ่านต่อ >> 

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 20 : ดัชนีบ่งชี้ความสมดุลของแร่ธาตุ (ประจำเดือนมกราคม 2555)

สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน กลับมาพบกันอีกครั้งพร้อมกับการต้อนรับการเปิดศักราชใหม่แห่งปี 2555 ฉบับที่แล้วเราคุยกันไปเกี่ยวกับแคลเซียมกัน เนื้อหาในฉบับนี้ เราจะมาต่อกันด้วย อ่านต่อ >>

 

 

 

 เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 19 : ดัชนีบ่งชี้สมดุลแร่ธาตุ (ประจำเดือนธันวาคม 2554)

สวัสดีครับท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน ฉบับนี้เป็นฉบับสุดท้ายในรอบปี 2554 กันแล้วนะครับ ซึ่งเนื้อหาที่เราจะกล่าวถึงกัน ยังคงเกี่ยวกับแร่ธาตุที่สำคัญในกระแสเลือด นั่นก็คือ แคลเซียมไอออน อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 16 : ดัชนีบ่งชี้สมดุลของแร่ธาตุ (ประจำเดือนกันยายน 2554)

สวัสดีครับกลับมาพบกันอีกครั้ง ฉบับนี้ เรายังคงอยู่กันที่หัวข้อการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ ในกลุ่มอิเลกโตรไลต์ ซึ่งที่ผ่านมาเราเกริ่นไปแล้วถึง 2 ไอออน    อ่านต่อ >> 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 15 : ดัชนีบ่งชี้สมดุลของแร่ธาตุ (ประจำเดือนสิงหาคม 2554)  

สวัสดีครับท่านผู้อ่าน ฉบับนี้ เป็นภาคต่อของการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ ในกลุ่มอิเลกโตรไลต์ ซึ่งฉบับที่แล้ว เราได้พูดถึงไอออนตัวแรกที่มีความสำคัญกันไปแล้วคือโซเดียม อ่านต่อ >>  

 

 

 

 เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 14 : ดัชนีบ่งชี้สมดุลของแร่ธาตุ (ประจำเดือนกรกฏาคม 2554)

ฉบับนี้จะขอแนะนำรายการตรวจทางห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ ในอีกกลุ่มที่มีความสำคัญมาก ก็คือ ดัชนีบ่งชี้สมดุลของแร่ธาตุในร่างกาย ที่เรียกว่า อิเลกโตรไลต์ อ่านต่อ>>  

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 13 : ดัชนีบ่งชี้การทำงานของหัวใจ (ประจำเดือนมิถุนายน 2554)

สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน กลับมาเจอกันอีกครั้งกับคอลัมน์สุขภาพกับเทคนิคการแพทย์มหิดล ซึ่งนับเป็นตอนที่ 13 กันแล้วนะครับ และหากย้อนกลับไปในปีที่ผ่านมานั้น คอลัมน์นี้ถูกเปิดตัวอย่างเป็นทางการครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2553 โดยมีการนำไปเผยแพร่  อ่านต่อ>> 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 12: ดัชนีบ่งชี้การทำงานของตับอ่อน (ประจำเดือนพฤษภาคม 2554)

นับเป็นการครบรอบ 1 ขอบปีของสุขภาพดีกับเทคนิคการแพทย์มหิดลแล้วนะครับ ในฉบับนี้ เราจะมาเรียนรู้การทำงานของตับอ่อนกันบ้างนะครับ อ่านต่อ>> 

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 11: ดัชนีบ่งชี้การทำงานของตับ (ประจำเดือนเมษายน 2554)

ฉบับนี้เราจะมาทำความรู้จักกับ 2 รายการสุดท้าย คือ Total bilirubin และ Direct bilirubin ซึ่งมีความสำคัญและเกี่ยวข้องกับภาวะที่เรียกว่า “ตัวเหลือง ตาเหลือง”  อ่านต่อ >>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 10: ดัชนีบ่งชี้การทำงานของตับ (ประจำเดือนมีนาคม 2554)

ตอนนี้เป็นภาคต่อของการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ เพื่อบ่งชี้สภาวะการทำงานของตับ อ่านต่อ >>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 9: ดัชนีบ่งชี้การทำงานของตับ (ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2554)

ในตอนนี้เราจะมาคุยกันถึงเรื่องการทำงานของตับกันบ้าง การตรวจเลือดในกลุ่มนี้ จะมีรายการหลายอย่างประกอบกัน ซึ่งเราจะมาไล่เรียงกันทีละตัวกันเลยนะครับ อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 8: ดัชนีบ่งชี้การทำงานของไต (ประจำเดือนมกราคม 2554)

ตอนที่ 8 นี้ เป็นภาคต่อของการวิเคราะห์ดัชนีบ่งชี้การทำงานของไตซึ่งฉบับที่แล้วมีการบอกกล่าวกันไปเกี่ยวกับรายการตรวจวิเคราะห์บียูเอ็นและครีอะตินีน สำหรับตอนนี้ เราจะมาคุยกันถึงแง่มุมเสริมสำหรับการตรวจในรายละเอียด อ่านต่อ>>

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 7: ดัชนีบ่งชี้การทำงานของไต (ประจำเดือนธันวาคม 2553)

ตอนที่ 7 นี้ เราจะมาคุยกันถึงรายการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ ในกลุ่มที่ 3 คือ การวิเคราะห์สภาวะการทำงานของไต อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต 6 (ประจำเดือนพฤศจิกายน 2553)

เราคงอยู่กันที่รายการการตรวจเลือดในกลุ่มที่ 2 คือ การตรวจวิเคราะห์เกี่ยวกับไขมันชนิดต่างๆ อ่านต่อ>>

 

 

 

เลือด...ของเหลวมหัศจรรย์แห่งชีวิต ตอนที่ 5 (ประจำเดือนตุลาคม 2553)

ฉบับนี้และต่อเนื่องถึงฉบับหน้า เราจะมาต่อกันอีกนิดเกี่ยวกับไขมันที่เรียกว่า ไตรกลีเซอไรด์ ซึ่งหากมีระดับสูง ก็จะเป็นตัวการที่สำคัญของภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจอีกด้วย หลังจากนั้น เราจะมาเรียนรู้ถึงวิธีการเตรียมตัวก่อนการเข้ารับการตรวจระดับไขมันในเลือด ตลอดจนค่าปกติของไขมันชนิดต่างๆกัน อ่านต่อ >>

 


Copyright © 2010 Faculty of Medical Technology, Mahidol University. All Rights Reserved. Download Internet Explorer 8 Top