English (United Kingdom)Thai (ภาษาไทย)

EQAM

                           

                            โครงการประเมินคุณภาพทางจุลทรรศนศาสตร์คลินิก โดยองค์กรภายนอก (EQAM) เป็นโครงการหนึ่งของโครงการประเมินคุณภาพทางห้องปฏิบัติการโดยองค์กรภายนอก ของคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ดำเนินการโดย ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ซึ่งเริ่มเปิดให้บริการรับสมาชิกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบัน

                             การรับสมาชิก ทางโครงการจะให้สิทธิกับสมาชิกเก่าก่อน โดยจะส่งใบสมัครต่ออายุให้กับสมาชิกพร้อมกับส่งผลประเมินกลับ ใน Trial ที่ 3 ประมาณ เดือนตุลาคม – ธันวาคม หากพ้นกำหนดก็จะเปิดรับสมัครสมาชิกใหม่ จึงทำให้ในแต่ละปีนั้นผู้เข้าร่วมโครงการ EQAM มีทั้งสมาชิกเก่าและใหม่ แต่เนื่องจากมีข้อจำกัดในเรื่องจำนวนตัวอย่าง  จึงทำให้ทางโครงการสามารถรับสมาชิกได้ประมาณ 200 ราย/ปี

 

ในส่วนของตัวอย่างประเมิน ใน 1 ปี สมาชิกจะได้รับตัวอย่างประเมิน 4 ครั้ง แต่ละครั้งประกอบด้วย

1.B-EQAM: เลือดสำหรับทำ cell count จำนวน 1 ตัวอย่าง

2.H-EQAM: สเมียร์เลือดย้อมด้วยสี Wright จำนวน 2 ตัวอย่าง

3.UC-EQAM: รูปภาพตะกอนปัสสาวะ จำนวน 2 ภาพ

                    : รูปภาพเซลล์เม็ดเลือด จำนวน 2 ภาพ  

หมายเหตุ *เริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2561

 

 

 

บทความให้ความรู้ EQAM ตั้งแต่ปี 2551 – 2558 (ส่งพร้อมเอกสารเฉลย และผลประเมินกลับ)

         ปี

  เดือน     

ชื่อบทความ                                                                                             

 ผู้เขียน                       

       2551    

เมษายน

Anemia and Hemolytic anemia

อ.ดร. โชติรส (ดาวสุโข) พลับพลึง    

 

กรกฏาคม   

CD 34 คือ อะไร และมีความสำคัญอย่างไร

ผศ.ดร. อังกูรา สุโภคเวช

 

ตุลาคม

Classification of Acute Leukemia

ผศ.พญ. สุมนา มัสอูดี

       2552

มกราคม

การตรวจวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียด้วยเทคนิคทางอณูพันธุศาสตร์

ผศ.ดร. ดลินา ตันหยง

 

เมษายน 

Chronic Myeloid Leukemia (CML)

อ.ดร. วิชนันท์ แย้มกมล

 

กรกฏาคม 

B EQAM External quality assessment (EQA)
ปัญหาและแนวทางแก้ไข

รศ. อาภาพันธ์ ศรีสรินทร์

 

ตุลาคม

Dysmorphic Red Blood Cell

ผศ.นพ. บุญทรง ปรีชาบริสุทธิ์กุล

       2553

มกราคม

Chronic Myelomonocytic Leukemia

 รศ.ดร. ปานทิพย์ วัฒนวิบูลย์

 

เมษายน 

เครื่องอัตโนมัติสำหรับวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะ

รศ. พรวรีย์ ลำเจียกเทศ

 

กรกฏาคม 

Differential diagnosis of hypochromic microcytic anemia

รศ. สุนารี องค์เจริญใจ

       

ตุลาคม

Chronic Myeloid Leukemia                                                            
ตอนที่ 1: แบบอย่างพัฒนาการของมะเร็งในคน  

รศ.ดร. พิมพิชญา  ปัทมสิริวัฒน์

2554

      
มกราคมมะเร็งเม็ดโลหิตเรื้อรัง CML : ตอนที่ 2: พัฒนาการที่ (ผู้ป่วยและคุณหมอ) ไม่พึงปรารถนา รศ.ดร. พิมพิชฌา ปัทมสิริวัฒน์

 

เมษายน

Natural  Anticoagulants

รศ.กฤษณา  ปทีปโชติวงศ์ 

 

กรกฎาคม

Megaloblastic anemia

ศ.ดร.วนิดา  อิฐรัตน์
 ตุลาคมการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยาในโรคตับ ผศ.พญ.สุมนา  มัสอูดี 
      2555มกราคมการตรวจเกล็ดเลือดทางห้องปฏิบัติการ ผศ.ดร.ดลินา  ตันหยง 

 

เมษายนการตรวจคัดกรองผู้ที่เป็นพาหะของโรคธาลัสซีเมียในห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ ศ.ดร.วนิดา   อิฐรัตน์ 
 

กรกฏาคม

การตรวจคัดกรอง Beta - thalassemia trait โดยใช้สูตรการคำนวณจาก
red blood cell parameters
 

รศ.สุนารี   องค์เจริญใจ 
 

ตุลาคม

ภาวะพร่องเอนไซม์กลูโคส-6-ฟอสเฟต ดีไฮโดรจีเนสผศ.ดร.พรลดา นุชน้อย
     2556มกราคมสภาวะเลือดจางจากการขาดเหล็ก (Iron deficiency anemia)ผศ.นพ.บุญทรง ปรีชาบริสุทธิ์กุล
 เมษายนการวินิจฉัยโรคโลหิตจางแอลฟ่า-ธาลัสซีเมียในระดับยีนโดยเทคนิค ไบโอเซนเซอร์ ศ.ดร.วนิดา อิฐรัตน์
 กรกฎาคมการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อช่วยติดตามการรักษาผู้ป่วยCML  

อ.ดร. วิชนันท์ แย้มกมล

 ตุลาคม Megaloblastic anemia  ผศ.ดร.โชติรส  พลับพลึง
     2557มกราคม Anemia of chronic diseases ผศ.ดร.พรลดา นุชน้อย
 เมษายนอัตราการตกของเม็ดเลือดแดง  

รศ. พรวรีย์ ลำเจียกเทศ

 กรกฎาคมการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อช่วยวินิจฉัยและติดตามการรักษาผู้ป่วย MPN  

อ.ดร. วิชนันท์ แย้มกมล

 

ตุลาคม

ผลึกที่เกิดจากการใช้ยาหรือสารทึบรังสีในตะกอนปัสสาวะ อ.ดร.มลธิรา  พรมกัณฑ์
     2558มกราคมการตรวจ D-dimer  อ.ดร.สุมนา   ดาเก็ง  
 

 

 

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2553 คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล Download Internet Explorer 8 ด้านบน